|
|
|
   |
|
   |
|
|
|
|
|
|
|
ตำบลบ่อแร่ เป็นตำบลที่น่าสนใจแห่งหนึ่งใน อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ทุกคนคงจะแปลกใจถึงที่มาของคำว่า “บ่อแร่” เมื่อย้อนไปถึง 150 ปีที่แล้วผ่านมา ตำบลบ่อแร่ที่เรารู้จักยังคงเป็นแค่หมู่บ้านเล็กๆ ที่มีผู้อยู่อาศัยเพียงไม่กี่หลังคาเรือน พื้นที่ในหมู่บ้านส่วนใหญ่จะเป็นทุ่งหญ้าป่าโปร่ง และที่ราบลุ่ม ชาวบ้านจึงทำไร่ทำนาเป็นอาชีพหลัก ต่อมาไม่นานก็มีชาวบ้านหนองบัวกลุ่มหนึ่ง อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน |
|
|
เพิ่มจึงทำให้มีบ้านเรือนหนาแน่นขึ้นพอมีคนมากขึ้นน้ำที่มีอยู่ก็ไม่พอใช้ จึงได้มีการขุดลอกหนองน้ำเล็กๆ ที่ชาวบ้านไปพบให้ลึกลงไปอีก เพื่อจะได้บ่อเก็บน้ำไว้ใช้ยามจำเป็นแล้วในขณะที่ขุดบอกหนองน้ำกันอยู่นั้นเอง ชาวบ้านก็ได้พบก้อนหินก้อนหนึ่งที่มีลักษณะแปลกไปจากก้อนหินทั่วๆ ไปชาวบ้านจึงลงความเห็นกันว่า ก้อนหินก้อนนี้จะต้องเป็นแร่ชนิดใดชนิดหนึ่งอย่างแน่นอนชาวบ้านจึงนำขึ้นมาตั้งไว้เหนือบ่อน้ำ แล้วจึงตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านบ่อแร่” ตามก้อนหินที่ขุดพบตั้งแต่นั้นมา |
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อแร่แต่เดิมเป็นสภาตำบลบ่อแร่ ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ได้รับประกาศจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อแร่ จากกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 |
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อแร่ มีระยะทางห่างจากที่ว่าการอำเภอวัดสิงห์ ประมาณ 9 กิโลเมตร ตั้งอยู่เลขที่ 190 หมู่ที่ 1 ตำบลบ่อแร่ อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท มีพื้นที่ทั้งหมด 25.39 ตารางกิโลเมตร 15,868.76 ไร่ |
|
|
|
|
|
พานรัฐธรรมนูญ |
หมายถึง กฎหมายสูงสุดที่ใช้ปกครองประเทศ |
ปีก ทั้ง 2 ข้าง |
หมายถึง องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อแร่จะต้องเจริญรุ่งเรืองยิ่งๆ ขึ้นไป |
มือ ทั้ง 2 ข้างที่กำรวงข้าว |
หมายถึง ความสามัคคี ความร่วมมือร่วมใจกันและความขยันหมั่นเพียรในการทำงาน |
วงกลมตรงกลาง |
หมายถึง ความมีน้ำหนึ่งใจเดียวกันและศูนย์ |
|
|
|
|
|
|
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ต.ดงขวาง อ.หนองขาหย่าง จ.อุทัยธานี |
|
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ต.หนองขุ่น อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท |
|
|
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ต.หนองบัว อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท |
|
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ต.กุดจอก อ.หนองมะโมง จ.ชัยนาท
|
|
|
|
    |
|
|
|
|
|
|
ลักษณะส่วนใหญ่เป็นที่ราบสลับกับที่ดอน และป่าไม้เบญจพรรณพื้นที่เหมาะสำหรับทำการเกษตรเลี้ยงสัตว์ และอุตสาหกรรมมี3ดูกาล (ฤดูร้อนฤดูฝนฤดูหนาว) มีลำน้ำที่สำคัญได้แก่ล้าห้วยขุนแก้วและลำห้วยวงเดือน |
|
|
|
|
|
|
สภาพอากาศของตำบลบ่อแร่ แบ่งได้เป็น 3 ฤดู คือ |

 |
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึงเดือนพฤษภาคม อุณหภูมิอยู่ระหว่าง 21.5 - 39.6 องศาเซลเซียส |

 |
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดือนตุลาคม อุณหภูมิอยู่ระหว่าง 22.0 - 36.8 องศาเซลเซียส |

 |
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ อุณหภูมิอยู่ระหว่าง 15.2 - 37.3 องศาเซลเซียส |
|
|
|
|
|
การเกษตรการผลิตพืช |
ประชาชนในตำบลบ่อแร่ร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรมโดยการทำนาเป็นหลัก ซึ่งพื้นที่อยู่นอกเขตชลประทานทำนาได้ปีละ 1 ครั้งเป็นนาปี ประเภทนาหว่านโดยอาศัยน้ำจากธรรมชาติ ได้แก่ น้ำฝนส่วนอีกร้อยละ 20 ประกอบอาชีพรับจ้างค้าขาย และรับราชการผลผลิตที่สำคัญของตำบลบ่อแร่ ได้แก่ |
|
|

 |
ข้าว พันธุ์ที่ใช้ คือ กข31, กข41, กข47, กข49, กข51, ชัยนาท1 และปทุมธานี1 พื้นที่ปลูก 13,818 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 750 กิโลกรัม/ไร่ |

 |
มันสำปะหลัง พันธุ์ที่ใช้คือ ระยอง5 พื้นที่ปลูก 20 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 3,600 กิโลกรัม/ไร่ |

 |
อ้อยพันธุ์ที่ใช้คือ ขอนแก่น และลำปาง11 พื้นที่ปลูก 173 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 5,500 กิโลกรัม/ไร่ |
การประมง |

 |
การเลี้ยงปลาน้ำจืดในบ่อดิน ได้แก่ ปลานิล ปลาดุก ปลาสวาย จำนวน 58 ไร่ 1 งาน |
การปศุศัตว์ |

 |
ประชาชนมีการเลี้ยงสัตว์เช่นโคเนื้อ กระบือ สุกร ไก่ไข่ เป็ดไข่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 2,346 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 1,127 คน |
คิดเป็นร้อยละ 48.04 |

 |
หญิง จำนวน 1,219 คน |
คิดเป็นร้อยละ 51.96 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 965 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 92.40 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
หมู่ที่ |
ชุมชน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
|
|
1 |
|
บ้านบ่อแร่ |
258 |
261 |
519 |
246 |
|
|
2 |
|
บ้านทุ่งแห้ง |
105 |
108 |
213 |
92 |
|
|
3 |
|
บ้านเนินบ้าน |
72 |
72 |
144 |
58 |
|
|
4 |
|
บ้านดงไร |
110 |
102 |
212 |
76 |
|
|
5 |
|
บ้านท่านจั่น |
203 |
248 |
451 |
160 |
|
|
6 |
|
บ้านหนองจิก |
329 |
367 |
696 |
279 |
|
|
7 |
|
บ้านไร่ห้วยกระบอก |
50 |
61 |
111 |
54 |
|
|
|
|
รวม |
1,127 |
1,219 |
2,346 |
965 |
|
|
|
|
|
   
   
    |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
  |
|
|
|
 |
<
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|